ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 8

 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 8

ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)



วันที่ 12 สิงหาคม 2564 วันหยุดราชการ
 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง




ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 7

 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 7

ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)

วันที่ 5 สิงหาคม 2564 


             1. นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอเนื้อหาโครงงานบทที่ 1 ซึ่งมีหัวข้อย่อย ๆ ดังนี้ 
                    - ความสำคัญและความเป็นมา 
                    - วัตถุประสงค์ 
                    - ขอบเขตการศึกษา 
                    - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
                    - ระยะเวลาศึกษาโครงงาน     
                    - นิยามคำศัพท์เฉพาะ  


        2. แต่ละกลุ่มนำเสนอตามหัอข้อ ดังต่อไปนี้
         กลุ่ม 1 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
         กลุ่ม 2 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
         กลุ่ม 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย วิชา วิทยาการคำนวณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
        กลุ่ม 4 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง องค์ประกอบหลักการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
         กลุ่ม 5 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
         กลุ่ม 6 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1



ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 6

 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 6

ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)

                    วันที่ 29 กรกฎาคม 2564


        1. ทบทวนเนื้อหาบทที่ 3 และบทที่ 4 ให้เข้าใจ 
        2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนบทที่ 3
        3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนบทที่ 4
        4. เข้าระบบอีเลิร์นนิ่งเพื่อทดลองปฏิบัติ ที่เว็บไซต์ http://smp.yru.ac.th  ใช้ user : รหัสประจำตัวนักศึกษา password: 12345* เพื่อเตรียมฝึกทำโครงงาน
        5. เล่นเกม Kahoot เพื่อทบทวนเนื้อหาบทที่ 3
        6. จัดการเรียนการสอน บทที่ การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง โดยเนื้อหา มีดังนี้
            การออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิง (Instructional design for e-Learning)
        แบบจําลองการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงสามารถนําหลักการพื้นฐานในการออกแบบการเรียนการสอน คือแบบจําลอง ADDIE Model ทั้งองค์ประกอบ 5 ขั้นตอนคือ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนําไปใช้ และการประเมินผลมาเป็นแนวทาง เพื่อการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงได้เช่นเดียวกับการสอนในห้องเรียนปกติ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

            1. การวิเคราะห์

                ในการออกแบบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงควรดําเนินการวิเคราะห์ รายละเอียด 5 ด้าน ดังนี้

                 1.1 วิเคราะห์ความจําเป็น

                 1.2 วิเคราะห์เนื้อหา หรือกิจกรรมการเรียนการสอน

                 1.3 วิเคราะห์ผู้เรียน

                 1.4 วิเคราะห์วัตถุประสงค์

                 1.5 วิเคราะห์สภาพแวดล้อม

            2. ออกแบบ

                  2.1 การเขียนผังงาน การออกแบบ storyboard เพื่อจัดลำดับความสัมพันธ์ของเนื้อหาแต่ละส่วนบท

ดําเนินเรื่อง และการออกแบบบทเรียน ภาพ ข้อความ เสียง หรือมัลติมีเดีย กิจกรรมการเรียนการกำหนด ปฏิสัมพันธ์การเรียน และการประเมินผล

                  2.2 การนําตัวบทเรียนที่ผ่านการออกแบบและวิเคราะห์จากขั้นวิเคราะห์มาพัฒนาเป็นการเรียนอีเลิร์นนิง

            3. พัฒนา

             ขั้นพัฒนาเป็นขั้นตอนของการลงมือปฏิบัติการสร้างบทเรียนตามผลการออกแบบจากขั้นตอนที่สอง ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องอาศัยผู้มีความเชี่ยวชาญหลายด้าน เช่น นักออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก นักคอมพิวเตอร์ผู้ดูแลและจัดการระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS :learning management system)

            4. นําไปใช้

    การนําเสนอการเรียนผ่านระบบบริหารจัดการเรียนการสอนเผยแพร่บนระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์(network) และสู่การนําไปจัดการเรียนการสอนจริง

           5. ประเมิน

          การประเมินการวิเคราะห์ การประเมินการออกแบบ การประเมินการพัฒนาและการประเมินเมื่อนําไปใช้จริงของระบบอีเลิร์นนิง โดยกระทำระหว่างดำเนินการ คือการประเมินระหว่างดําเนินงาน (formative evaluation) และประเมินภายหลังการดําเนินงาน (summative evaluation) การประเมินจะทำให้ผู้พัฒนาทราบข้อมูลเพื่อการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องในขั้นตอนต่าง ๆ       






ประเพณีการกวนข้าวอาซูรอ

ประเพณีการกวนข้าวอาซูรอ ประวัติความเป็นมา           การกวนข้าวอาซูรอ หรือการกวนขนมอาซูรอ สืบเนื่องมาแต่สมัยนบีนุฮฺ(อล) สมัยนั้นเกิดภาวะน้ำท่...